เทคนิคการสอนภาษา
สังเกตว่าเวลาเราสอนเด็กรู้สึกอย่างไรถ้าเด็กรู้สึกเครียด เบื่อ และครูรู้สึกไม่สนุกด้วยแสดงว่าการสอนภาษาของเราไม่ถูกต้อง
แนวคิดพื้นฐานของการสอนภาษา
1.ครูต้องทราบความรู้สึกของเด็ก 2.ประสบการณ์ทางภาษาของเด็กเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา 3.เด็กทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ 4.เด็กจะเรียนรู้ได้ดีที่สุดถ้าเราสอนแบบ Whole Language 5.เด็กจะเรียนรู้ได้ดี มาจากการตัดสินใจของเด็กเอง 6.เด็กได้รู้สึกว่าเป็นส่วนหนึ่งของสังคม 7.ไม่ให้เด็กรู้สึกว่ากำลังแข่งขันอยู่8.ครูต้องสอนทักษะทุกอย่างพร้อมๆกัน 9.ทำให้การเรียนภาษาของเด็กเป็นสิ่งน่าสนใจ
ปฏิบัติในการสอนภาษาข้อ
1.ควรสอนในสภาพที่เป็นธรรมชาติที่สุด 2.ควรสอนโดยไม่มีการแบ่งแยกกลุ่ม
เด็กเก่งเด็กอ่อน 3.การที่เด็กเกิดมาพร้อมกับความสนใจอยากรู้อยู่แล้วจะเป็นแรงกระตุ้นให้เขาสามารถจำคำต่างๆได้
แฟ้มสะสมงานในรายวิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
แม่ไก่สีแดง
แต่ละกลุ่มนำเสนองานจากการศึกษาค้นคว้าในหัวข้อที่ได้รับมอบหมาย
กลุ่ม 1 ความหมายของภาษาภาษา
คือ เสียงหรือกิริยาอาการที่ทำความเข้าใจกันได้ เช่น คำพูดถ้อยคำที่ใช้พูดจากันภาษามี 2 ประเภท คือ วัจนภาษา และอวัจนภาษาความสำคัญของภาษา- ทำให้สื่อสารได้เข้าใจตรงกัน- ทำให้เกิดความสัมพันธ์ ความเข้าใจ ความรักกันในชุมชนที่มีวัฒนธรรมการใช้ภาษาเดียวกัน
กลุ่ม 2 ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาเพียเจต์
กล่าวว่า การเรียนรู้เกิดจากกระบวนการทำงานของระบบประสาทส่วนกลางเพียเจต์แบ่งลำดับขั้นพัฒนาการ ดังนี้ขั้นที่ 1 (แรกเกิด-2ปี) ใช้ประสาทสัมผัสและเคลื่อนไหวขั้นที่ 2 (2-7ปี) คิดก่อนปฏิบัติการขั้นที่ 3 (7ปีขึ้นไป) คิดแบบรูปธรรมขั้นที่ 4 คิดแบบนามธรรมการนำไปใช้ในการจัดการศึกษา- เปิดโอกาสให้เด็กได้ลงมือกระทำผ่านประสาทสัมผัสทั้ง5- ให้เด็กได้ใช้ภาษาโดยการพูดคุย สอบถาม เพราะภาษามีความสำคัญต่อการพัฒนาสติปัญญาบรูเนอร์ กล่าวว่า การเรียนรู้ของคนจะมีประสิทธิภาพเพียงใดขึ้นอยู่กับกิจกรรมทางสมอง จึงควรส่งเสริมกระตุ้นให้เด็กเกิดการเรียนรู้โดยผ่านประสบการณ์ตรง เด็กได้ลงมือกระทำบรูเนอร์แบ่งขั้นพัฒนาการทางสติปัญญาและการคิด ออกเป็น 3 ขั้น1. ขั้นการเรียนรู้ด้วยการกระทำ2. ขั้นการเรียนรู้ด้วยภาพและจินตนาการ3. ขั้นการเรียนรู้ด้วยสัญลักษณ์
กลุ่ม 3 จิตวิทยาการเรียนรู้
องค์ประกอบสำคัญของการเรียนรู้- แรงขับ เป็นพลังความต้องการภายในตัวบุคคล- สิ่งเร้า เป็นตัวกระตุ้น- การตอบสนอง เป็นปฏิกิริยาที่แสดงออกเมื่อได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้า- การเสริมแรง เป็นสิ่งที่มีอิทธิพลที่มีผลในการเพิ่มพลัง
กลุ่ม 4 เรื่อง แนวคิดนักการศึกษาการสอนภาษาแบบองค์รวม
คือการสอนที่เป็นไปตามธรรมชาติ เน้นสื่อที่มีความหมาย ประสบการณ์เดิมหลักการอ่านและเขียนภาษาแบบองค์รวม1.ผู้อ่านต้องต้องเก็บข้อมูลและทำความเข้าใจความหมายข้อความที่อ่าน2.กระบวนการอ่านต้องเชื่อมโยงกับรูปภาพที่เด็กเห็น3.การเขียนจะเน้นความสัมพันธ์นักทฤษฎีดิวอี้ เกิดจากประสบการณ์การลงมือกระทำไวกอตสกี การเรียนรู้จาการปฏิสัมพันธ์กับบุคคลใกล้เคียงฮอลลิเดย์ สถานการณ์ในสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อภาษาสำหรับเด็ก
กลุ่ม 5 เรื่อง การจัดประสบการณ์สำหรับเด็ก
หลักการจัดการเรียนรู้ทำให้เด็กเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับพัฒนาการ เพื่อส่งเสริมทักษะทางด้านการฟัง พูด อ่าน เขียนและต้องผ่านการลงมือกระทำ ทดลอง ปฏิบัติจริง บนพื้นฐานอย่างอิสระ
คือ เสียงหรือกิริยาอาการที่ทำความเข้าใจกันได้ เช่น คำพูดถ้อยคำที่ใช้พูดจากันภาษามี 2 ประเภท คือ วัจนภาษา และอวัจนภาษาความสำคัญของภาษา- ทำให้สื่อสารได้เข้าใจตรงกัน- ทำให้เกิดความสัมพันธ์ ความเข้าใจ ความรักกันในชุมชนที่มีวัฒนธรรมการใช้ภาษาเดียวกัน
กลุ่ม 2 ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาเพียเจต์
กล่าวว่า การเรียนรู้เกิดจากกระบวนการทำงานของระบบประสาทส่วนกลางเพียเจต์แบ่งลำดับขั้นพัฒนาการ ดังนี้ขั้นที่ 1 (แรกเกิด-2ปี) ใช้ประสาทสัมผัสและเคลื่อนไหวขั้นที่ 2 (2-7ปี) คิดก่อนปฏิบัติการขั้นที่ 3 (7ปีขึ้นไป) คิดแบบรูปธรรมขั้นที่ 4 คิดแบบนามธรรมการนำไปใช้ในการจัดการศึกษา- เปิดโอกาสให้เด็กได้ลงมือกระทำผ่านประสาทสัมผัสทั้ง5- ให้เด็กได้ใช้ภาษาโดยการพูดคุย สอบถาม เพราะภาษามีความสำคัญต่อการพัฒนาสติปัญญาบรูเนอร์ กล่าวว่า การเรียนรู้ของคนจะมีประสิทธิภาพเพียงใดขึ้นอยู่กับกิจกรรมทางสมอง จึงควรส่งเสริมกระตุ้นให้เด็กเกิดการเรียนรู้โดยผ่านประสบการณ์ตรง เด็กได้ลงมือกระทำบรูเนอร์แบ่งขั้นพัฒนาการทางสติปัญญาและการคิด ออกเป็น 3 ขั้น1. ขั้นการเรียนรู้ด้วยการกระทำ2. ขั้นการเรียนรู้ด้วยภาพและจินตนาการ3. ขั้นการเรียนรู้ด้วยสัญลักษณ์
กลุ่ม 3 จิตวิทยาการเรียนรู้
องค์ประกอบสำคัญของการเรียนรู้- แรงขับ เป็นพลังความต้องการภายในตัวบุคคล- สิ่งเร้า เป็นตัวกระตุ้น- การตอบสนอง เป็นปฏิกิริยาที่แสดงออกเมื่อได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้า- การเสริมแรง เป็นสิ่งที่มีอิทธิพลที่มีผลในการเพิ่มพลัง
กลุ่ม 4 เรื่อง แนวคิดนักการศึกษาการสอนภาษาแบบองค์รวม
คือการสอนที่เป็นไปตามธรรมชาติ เน้นสื่อที่มีความหมาย ประสบการณ์เดิมหลักการอ่านและเขียนภาษาแบบองค์รวม1.ผู้อ่านต้องต้องเก็บข้อมูลและทำความเข้าใจความหมายข้อความที่อ่าน2.กระบวนการอ่านต้องเชื่อมโยงกับรูปภาพที่เด็กเห็น3.การเขียนจะเน้นความสัมพันธ์นักทฤษฎีดิวอี้ เกิดจากประสบการณ์การลงมือกระทำไวกอตสกี การเรียนรู้จาการปฏิสัมพันธ์กับบุคคลใกล้เคียงฮอลลิเดย์ สถานการณ์ในสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อภาษาสำหรับเด็ก
กลุ่ม 5 เรื่อง การจัดประสบการณ์สำหรับเด็ก
หลักการจัดการเรียนรู้ทำให้เด็กเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับพัฒนาการ เพื่อส่งเสริมทักษะทางด้านการฟัง พูด อ่าน เขียนและต้องผ่านการลงมือกระทำ ทดลอง ปฏิบัติจริง บนพื้นฐานอย่างอิสระ